เบื้องหลัง ของ จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558

ดูบทความหลักที่: จันทรุปราคา
วีดีโอภาพเคลื่อนไหวเหตุการณ์ซูเปอร์มูน พ.ศ. 2558 และจันทรุปราคาเต็มดวงวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558

จันทรุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนผ่านภายในเงามืด (เงา) ของโลก ขณะที่เริ่มอุปราคา เงาแรกของโลกจะทำให้ดวงจันทร์มืดลงเล็กน้อย หลังจากนั้น เงาจะเริ่ม "ปกคลุม" ส่วนของดวงจันทร์ เปลี่ยนแปลงให้มันเริ่มมีสีน้ำตาลอมแดงเข้ม (โดยปกติ สีสามารถปรวนแปรได้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในชั้นบรรยากาศ) ดวงจันทร์จะปรากฏเป็นสีแดงเนื่องจากการกระจัดกระจายของเรย์ลี (เป็นปรากกฎการณ์เดียวกันกับที่ทำให้ดวงอาทิตย์เป็นสีแดงขณะตก) และการหักเหแสงนั้นโดยชั้นบรรยากาศของโลกเข้าสู่เงามืด[4]

ตามการจำลองแสดงให้เห็นถึงลักษณะภายนอกโดยประมาณของดวงจันทร์ ขณะกำลังเคลื่อนที่ผ่านเงาของโลก ความสว่างของดวงจันทร์เพิ่มขึ้นภายในเงามัว บางส่วนตอนเหนือของดวงจันทร์เคลื่อนเข้าใกล้ศูนย์กลางเงา ทำให้บริเวณนั้นมืดที่สุด และมีลักษณะภายนอกโดยมากเป็นสีแดง

ใกล้เคียง

จันทรุปราคา จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561 จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558 จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557 จันทรุปราคา กรกฎาคม พ.ศ. 2561 จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2558 จันทรุปราคา มีนาคม พ.ศ. 2549 จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553 จันทรุปราคา กรกฎาคม พ.ศ. 2563 จันทรุปราคา ตุลาคม พ.ศ. 2556

แหล่งที่มา

WikiPedia: จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558 http://astrobob.areavoices.com/2015/09/21/heres-th... http://www.inconstantmoon.com/cyc_ecl1.htm http://www.mreclipse.com/Special/LEprimer.html http://www.skyandtelescope.com/astronomy-news/obse... http://www.universetoday.com/122666/why-was-septem... http://wattsupwiththat.com/2015/10/06/recent-lunar... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/LE2001-2100.ht... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/appearance.htm... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEplot/LEplot2001/LE2... http://www.hermit.org/eclipse/2015-09-28/